ยันไม่เลื่อน! กฎหมาย PDPA บังคับใช้ 1 มิ.ย. 65 พร้อมประเด็นอัปเดตกับ เธียรชัย ณ นคร
ประธานคณะกรรมการ คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ยืนยันปีนี้กฎหมาย PDPA ไม่เลื่อนบังคับใช้แล้ว
ประธานคณะกรรมการ คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ยืนยันปีนี้กฎหมาย PDPA ไม่เลื่อนบังคับใช้แล้ว
เผยประวัติ ประธานกรรมการ และคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวม 10 ท่าน ที่ได้รับคัดเลือกแต่งตั้ง เชื่อความเชี่ยวชาญของทุกท่านสะท้อนภาพการพัฒนาด้าน Data Protection ขีดสุดของไทย
18 มกราคม 2565 – คณะรัฐมนตรีมีประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เรื่อง แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดยมีรายนามผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งรวม 10 ท่าน
ข้อมูลส่วนบุคคล เป็นข้อมูลที่เลี่ยงได้ยากมากในยุคปัจจุบันนี้ ที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า การแข่งขันก็ค่อนข้างสูง เรียกได้ว่าองค์กรไหนที่มี “ข้อมูล” มากกว่า ก็จะมีความได้เปรียบในเรื่องของการพัฒนาสินค้าหรือบริการ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้ดีกว่า ซึ่งในหลาย ๆ องค์กรก็ได้เล็งเห็นถึงผลประโยชน์และหันมาให้ความสำคัญกับการเก็บข้อมูลผู้ใช้งาน
ขยายเวลาก่อนการบังคับใช้ติด ๆ กันถึงสองครั้ง สำหรับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม PDPA ครั้งแรกในปี 2563 และครั้งที่สองในปี 2564 จนปัจจุบันมีกำหนดเริ่มบังคับใช้อย่างเต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2565
เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer) หรือที่เรียกสั้น ๆ กันว่า DPO ตำแหน่งงานใหม่ที่ได้รับความสนใจมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่การประกาศ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ในปี 2562 ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันว่าองค์กรไหนต้องมีเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลประจำบ้าง /// และคุณจำเป็นต้องมีบุคคลนี้อยู่ในองค์กรหรือไม่
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 (PDPA) ถูกขยายเวลาบังคับใช้อีกครั้ง จากเดิมจะบังคับใช้เต็มฉบับในวันที่ 1 มิถุนายน 2564 เลื่อนไปเป็นวันที่ 1 มิถุนายน 2565 แทน เป็นทางการแล้ว
ในมุมมองของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล สิ่งแรก ๆ ที่จะทำให้เรารู้สึกปลอดภัยแล้วไว้ใจได้ว่าข้อมูลของเราจะได้รับการคุ้มครองอย่างแน่นอนเมื่อคลิกเข้าสู่เว็บไซต์ นั่นก็คือการมีกล่องข้อความเด้งขึ้นมาให้เรากดยอมรับการใช้งานคุกกี้ตลอดจนการคลิกอ่านต่อประกาศความเป็นส่วนตัว (Privacy Notice) บนหน้าเว็บ หากเว็บไซต์ไหนไม่มีทั้ง 2 อย่างนี้ เราอาจอนุมานไปก่อนได้เลยว่าเว็บไซต์และองค์กรที่เป็นเจ้าของเว็บไซต์นั้นไม่มีมาตรการคุ้มครองข้อมุลส่วนบุคคลที่เหมาะสม ดังนั้น Privacy Notice จึงมีความสำคัญมาก
Event: LIVE ถาม-ตอบ เจาะลึก แบ่งปันความรู้เรื่อง “พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่คนไทยต้องรู้ คุณครูต้องสอน และสถานศึกษาต้องระวังไม่ละเมิด” โดย ดร.อุดมธิปก ไพรเกษตร ผู้เชี่ยวชาญด้าน Business Model และ Digital Marketing และ ดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านความคิดสร้างสรรค์ กระทรวงศึกษาธิการ ผ่านเฟซบุ๊กเพจสุจริตไทย เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2563 เวลา 19.00-20.00 น. เนื้อหาเป็นอย่างไร ได้ความรู้อย่างไรบ้าง ติดตามกันเลยครับ
ผู้บริหารขององค์กรในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลก็คงเคยได้ยินเรื่องราวเกี่ยวกับ Data Protection Officer (เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูล) หรือที่เรียกกันติดปากอย่างย่อ ๆ ว่า DPO (ดีพีโอ) กันมาบ้าง โดยหลาย ๆ องค์กรจำเป็นต้องมีตำแหน่งนี้ประจำเพื่อ Facilitate – อำนวยความสะดวกให้การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเป็นไปอย่างราบรื่นและดำเนินการได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งคุณเองต้องพิจารณาว่าองค์กรของคุณเข้าข่ายต้องมีเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลหรือไม่?