PDPA Focus – เรื่องของ “ความยินยอม” ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ควบคุมข้อมูล (ไม่ว่าจะในฐานะบุคคลคือนิติบุคคลก็ตาม) ต้องทำการขอ ความยินยอม (Consent) จากบุคคลเสียก่อน ไม่อย่างนั้นอาจมีความผิดตามกฎหมาย
ผู้ควบคุมข้อมูล (ไม่ว่าจะในฐานะบุคคลคือนิติบุคคลก็ตาม) ต้องทำการขอ ความยินยอม (Consent) จากบุคคลเสียก่อน ไม่อย่างนั้นอาจมีความผิดตามกฎหมาย
สรรหาประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล แบ่งเป็นประธานคณะกรรมการ 1ท่าน และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 9ท่าน
ภายใต้ PDPA การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลจะไม่สามารถกระทำได้อย่างอิสระ ยกเว้นแต่จะดำเนินการตามหลักการใดหลักการหนึ่งตามนี้
ก่อนการใช้งานโซเชียลมีเดียคุณต้องกดยอมรับเงื่อนไขการให้บริการ ซึ่งมักอนุญาตให้ผู้ให้บริการสามารถนำเอาข้อมูลส่วนตัวของคุณไปใช้ประโยชน์ในเชิงธุรกิจได้
กรณีที่ HR นำข้อมูลส่วนบุคคลของเจ้าของข้อมูลไปใช้ในขอบเขตที่ไม่ได้เข้าข่ายตามข้อตกลงความยินยอมแต่แรก ก็จะเข้าข่ายผิดทันทีตาม กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
HR ต้องระวัง! ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้สมัครงานที่พวกคุณเก็บไว้แบบไม่มีระบบ ไม่มีการขออนุญาต และจัดการไม่ดี ตามกฎระเบียบของ PDPA อาจสร้างความเสียหายให้บริษัท
ตั้งแต่ 28 พ.ค. 63 เป็นต้นไป รัฐและเอกชน ไม่ว่าจะรายย่อยแค่ไหน หรือรายใหญ่เท่าไหร่ ต้องทำตามกฎระเบียบ และข้อกำหนดที่ระบุในกฎหมาย PDPA
GDPR และ PDPA เป็นกฎหมายที่เข้ามากำกับดูแลการปกป้องข้อมูลให้เป็นไปตามมาตรฐาน ธุรกิจและหน่วยงานที่ไม่ทำตามมาตรการจะมีโทษตามกฎหมายด้วย
ในฐานะที่เป็นองค์กร และอยากรู้ว่าเข้าข่ายที่ต้องทำตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่ วันนี้เรามี 5 Tips ที่จะช่วยให้คุณปฏิบัติตามกฎหมาย PDPA ของไทยได้
Data กลายเป็น Asset ที่สำคัญที่เปรียบได้กับบ่อน้ำมันในโลกยุคใหม่ การป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลจึงได้รับความสนใจในระดับประเทศและระดับโลก