เอกสารที่ HR ทุกองค์กรต้องมี ดาวน์โหลดฟรี PDPA Guideline กับการคุ้มครองแรงงานสำหรับสถานประกอบการ
เอกสารแนวปฏิบัติ PDPA Guideline โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และ PDPA Thailand ผู้ประกอบการดาวน์โหลดฟรีได้ที่นี่
เอกสารแนวปฏิบัติ PDPA Guideline โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และ PDPA Thailand ผู้ประกอบการดาวน์โหลดฟรีได้ที่นี่
ข้อมูลส่วนบุคคล เป็นข้อมูลที่เลี่ยงได้ยากมากในยุคปัจจุบันนี้ ที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า การแข่งขันก็ค่อนข้างสูง เรียกได้ว่าองค์กรไหนที่มี “ข้อมูล” มากกว่า ก็จะมีความได้เปรียบในเรื่องของการพัฒนาสินค้าหรือบริการ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้ดีกว่า ซึ่งในหลาย ๆ องค์กรก็ได้เล็งเห็นถึงผลประโยชน์และหันมาให้ความสำคัญกับการเก็บข้อมูลผู้ใช้งาน
แม้รัฐบาลจะขยายเวลา บังคับใช้ PDPA ออกไปถึง 2 ปีเพื่อให้มีเวลาในการเตรียมตัว แต่หลาย ๆ องค์กรก็ยังปรับตัวไม่ทัน เพราะกระบวนการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีความซับซ้อน ต้องมองอย่างละเอียดและวางมาตรการในหลายด้าน จึงเริ่มมีอุตสาหกรรม/บริการใหม่ ๆ ที่ช่วยอำนวยความสะดวกองค์กรในการทำตาม PDPA เกิดขึ้นตามหลังมาในหลายรูปแบบ ตามไปดูกันครับ
ขยายเวลาก่อนการบังคับใช้ติด ๆ กันถึงสองครั้ง สำหรับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม PDPA ครั้งแรกในปี 2563 และครั้งที่สองในปี 2564 จนปัจจุบันมีกำหนดเริ่มบังคับใช้อย่างเต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2565
เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer) หรือที่เรียกสั้น ๆ กันว่า DPO ตำแหน่งงานใหม่ที่ได้รับความสนใจมาอย่างยาวนาน นับตั้งแต่การประกาศ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ในปี 2562 ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันว่าองค์กรไหนต้องมีเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลประจำบ้าง /// และคุณจำเป็นต้องมีบุคคลนี้อยู่ในองค์กรหรือไม่
การประกาศใช้ PDPA หรือ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 ทำให้หลาย ๆ องค์กรเริ่มลุกขึ้นมาดำเนินการด้านนี้กันแล้ว แต่คุณแน่ใจหรือยังว่าได้ดำเนินการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอย่างสอดคล้องครบถ้วนกับตัวกฎหมายในทุกมิติ? ลองเช็กด้วยลิสต์รายการ 10 ข้อนี้ได้เลย!
ในมุมมองของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล สิ่งแรก ๆ ที่จะทำให้เรารู้สึกปลอดภัยแล้วไว้ใจได้ว่าข้อมูลของเราจะได้รับการคุ้มครองอย่างแน่นอนเมื่อคลิกเข้าสู่เว็บไซต์ นั่นก็คือการมีกล่องข้อความเด้งขึ้นมาให้เรากดยอมรับการใช้งานคุกกี้ตลอดจนการคลิกอ่านต่อประกาศความเป็นส่วนตัว (Privacy Notice) บนหน้าเว็บ หากเว็บไซต์ไหนไม่มีทั้ง 2 อย่างนี้ เราอาจอนุมานไปก่อนได้เลยว่าเว็บไซต์และองค์กรที่เป็นเจ้าของเว็บไซต์นั้นไม่มีมาตรการคุ้มครองข้อมุลส่วนบุคคลที่เหมาะสม ดังนั้น Privacy Notice จึงมีความสำคัญมาก
ปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศทั่วโลกทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน หรือแม้แต่กระทั้งสถาบันการศึกษาก็ได้นำเอาเทคโนโลยีจดจำใบหน้า หรือ Face Recognition เข้ามาใช้งานในด้านต่าง ๆ อาทิ ภาครัฐนำเอาเทคโนโลยีการจดจำใบหน้าไปใช้ประโยชน์ในด้านความมั่นคง หรือ ด้านความปลอดภัยทางสาธารณะ ภาคเอกชนนำไปใช้เพื่อสร้างการความประทับใจให้กับลูกค้า หรือ เพื่อประโยชน์ในด้านของการอำนวยความสะดวก โดยเฉพาะในงานด้านรักษาความปลอดภัย และสถาบันการศึกษานำมาใช้เพื่อยืนยันการเข้าเรียนของนักเรียน เป็นต้น
ใกล้เข้ามาแล้ว! ที่พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 หรือกฎหมายที่เรารู้จักกันดีในนาม PDPA (Personal Data Protection Act) จะมีผลบังคับใช้อย่างเต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2564 ภายหลังจากที่ได้รับการยกเว้นบังคับใช้ เนื่องมาจากวิกฤตโควิด-19 ซึ่งส่งผลให้การเตรียมพร้อมคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานหลาย ๆ ภาคส่วนในสังคมยังดำเนินการไม่เรียบร้อย แล้วสถานศึกษา (ของคุณ) ล่ะ พร้อมหรือยัง?!
หลักความรับผิดชอบ หรือ Accountability นับเป็นหลักการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลพื้นฐานที่จำเป็นต้องปฏิบัติตาม ดังนั้นผู้บริหารระดับสูง เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูล หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้จัดการเรื่องการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลประจำองค์กร จึงควรต้องศึกษาให้ดี