เอกสารที่ HR ทุกองค์กรต้องมี ดาวน์โหลดฟรี PDPA Guideline กับการคุ้มครองแรงงานสำหรับสถานประกอบการ
เอกสารแนวปฏิบัติ PDPA Guideline โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และ PDPA Thailand ผู้ประกอบการดาวน์โหลดฟรีได้ที่นี่
เอกสารแนวปฏิบัติ PDPA Guideline โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และ PDPA Thailand ผู้ประกอบการดาวน์โหลดฟรีได้ที่นี่
ขยายเวลาก่อนการบังคับใช้ติด ๆ กันถึงสองครั้ง สำหรับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม PDPA ครั้งแรกในปี 2563 และครั้งที่สองในปี 2564 จนปัจจุบันมีกำหนดเริ่มบังคับใช้อย่างเต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2565
การประกาศใช้ PDPA หรือ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 ทำให้หลาย ๆ องค์กรเริ่มลุกขึ้นมาดำเนินการด้านนี้กันแล้ว แต่คุณแน่ใจหรือยังว่าได้ดำเนินการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอย่างสอดคล้องครบถ้วนกับตัวกฎหมายในทุกมิติ? ลองเช็กด้วยลิสต์รายการ 10 ข้อนี้ได้เลย!
ใกล้เข้ามาแล้ว! ที่พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 หรือกฎหมายที่เรารู้จักกันดีในนาม PDPA (Personal Data Protection Act) จะมีผลบังคับใช้อย่างเต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2564 ภายหลังจากที่ได้รับการยกเว้นบังคับใช้ เนื่องมาจากวิกฤตโควิด-19 ซึ่งส่งผลให้การเตรียมพร้อมคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานหลาย ๆ ภาคส่วนในสังคมยังดำเนินการไม่เรียบร้อย แล้วสถานศึกษา (ของคุณ) ล่ะ พร้อมหรือยัง?!
Event: LIVE ถาม-ตอบ เจาะลึก แบ่งปันความรู้เรื่อง “พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่คนไทยต้องรู้ คุณครูต้องสอน และสถานศึกษาต้องระวังไม่ละเมิด” โดย ดร.อุดมธิปก ไพรเกษตร ผู้เชี่ยวชาญด้าน Business Model และ Digital Marketing และ ดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านความคิดสร้างสรรค์ กระทรวงศึกษาธิการ ผ่านเฟซบุ๊กเพจสุจริตไทย เมื่อ 23 พฤศจิกายน 2563 เวลา 19.00-20.00 น. เนื้อหาเป็นอย่างไร ได้ความรู้อย่างไรบ้าง ติดตามกันเลยครับ
ผู้บริหารขององค์กรในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลก็คงเคยได้ยินเรื่องราวเกี่ยวกับ Data Protection Officer (เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูล) หรือที่เรียกกันติดปากอย่างย่อ ๆ ว่า DPO (ดีพีโอ) กันมาบ้าง โดยหลาย ๆ องค์กรจำเป็นต้องมีตำแหน่งนี้ประจำเพื่อ Facilitate – อำนวยความสะดวกให้การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเป็นไปอย่างราบรื่นและดำเนินการได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งคุณเองต้องพิจารณาว่าองค์กรของคุณเข้าข่ายต้องมีเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลหรือไม่?
ลองนึกดูนะครับว่า ข้อมูลของเราที่ถูกกรอกและวางทิ้งไว้เฉย ๆ บนโลกออนไลน์ วันหนึ่งอาจถูกละเมิดนำไปใช้ในทางที่ผิด ไม่ว่าจะเป็นการจารกรรม การหลอกหลวง หรือการนำเอาข้อมูลของเราไปอ้างเพื่อคดโกงผู้อื่น ซึ่งต่างก็นำความเดือนร้อนมายังเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลอย่างเราแทบทั้งสิ้น เราจึงควรหันมาให้ความสนใจและไม่ปล่อยให้ข้อมูลส่วนบุคคลเหล่านี้ปราศจากการคุ้มครอง
สำหรับเอกชนที่เข้าไปร่วมกับหน่วยงานรัฐในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลร่วมหรือผู้ประมวลผลข้อมูลมีหน้าที่ต้องตรวจสอบและสอบทานฐานความชอบด้วยกฎหมายในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตนเองเสมอ เพราะความเชื่อว่าหน่วยงานของรัฐมีอำนาจตามกฎหมายทำอะไรก็ได้นั้น “ไม่จริงครับ”
ตอบคำถามทั้ง 9 ข้อนี้ เพื่อประเมินว่า ผู้บริหารอย่างตัวคุณเองและองค์กรภายใต้การดูแลของคุณเตรียมพร้อมรับมือกับ PDPA อยู่ในระดับใด มีจุดอ่อนจุดแข็งอะไรบ้าง ตลอดจนมองเห็นว่ามีจุดใดบ้างที่ต้องปรับปรุง เพื่อให้การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสอดคล้องกับกฎหมายและมีประสิทธิภาพสูงสุด!
PDPA เป็นกฎหมายใหม่ที่มีผลกระทบกับ HR ทุกบริษัท แล้วฝ่ายทรัพยากรอย่างคุณ ควรคำนึงถึงการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในจุดใดบ้าง?