CRM (Customer Relationship Management) มีกระบวนการทำงานอย่างไร และทำไมถึงเกี่ยวข้องกับ PDPA
เรียบเรียงโดย คุณสถาพร ฉายะโอภาส ประธานจังหวัดนครนายก ส […]
เรียบเรียงโดย คุณสถาพร ฉายะโอภาส ประธานจังหวัดนครนายก ส […]
แบบฟอร์มยื่นคำร้อง PDPA ช่องทางและวิธีการทำคำขอหรือส่งเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลทางออนไลน์…
: คุณกำลังทำผิด PDPA อยู่รึเปล่า? ผู้ให้บริการออนไลน์ แพลตฟอร์มเว็บไซต์ และแอปพลิเคชันที่จัดทำเงื่อนไขในการให้บริการ หรือ Term of Service ที่ยาวมากและคลุมเครือ ยากแก่การทำความเข้าใจมีความเสี่ยงมากต่อการทำผิด พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เพราะแม้จะเป็นข้อตกลงตามสัญญา แต่หากสัญญาที่ผู้รับบริการไม่เข้าใจ และเจตนาสร้างความสับสนจะถือเป็นสัญญาที่มีผลตามกฎหมายได้หรือ?
ธุรกิจขายตรง (Direct Sales) ธุรกิจเครือข่าย (MLM/Network Marketing) ธุรกิจที่นอกจากขายสินค้าหรือบริการแล้ว ยังมีการชักชวนให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในธุรกิจ
จุดเปลี่ยนของ Big Data เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลมีกฎหมาย PDPA คุ้มครอง
ดังนั้นการเก็บใช้ข้อมูลในปัจจุบันภายใต้กฎหมายที่ควบคุมอย่างเข้มงวด
จึงเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการ และองค์กรธุรกิจจะต้องเร่งปรับให้ทัน
ในที่นี้เราจึงหยิบยกกรณีของการทำ Big Data
ซึ่งธุรกิจนำมาใช้ประโยชน์จะต้องดำเนินการอย่างไรให้สอดคล้องกับมาตรฐานใหม่ใ
นการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ทางสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ สคส. ได้ออกสถิติการรับเรื่องร้องเรียน และสอบถามทางโทรศัพท์เรื่อง PDPA โดยมีการจัดระยะเวลาทั้งหมด 1 ปี ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 15 พฤศจิกายน 2565 โดยทางสคส. แจ้งว่าใน 1 ปีที่ผ่านมามีผู้ร้องเรียนสูงถึง 2,246 ครั้ง
PDPA มีข้อกำหนดที่ให้ ‘สิทธิแก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล’ ในการร้องขอให้ผู้ควบคุมข้อมูลดำเนินการตามสิทธิที่ได้ระบุไว้ในมาตรา 30
หลายองค์กรคงยังมีความสงสัยในเรื่องของ PDPA และเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม รวมถึงไขข้อสงสัยให้กับหน่วยงาน รวมถึงผู้ที่มีความสนใจ PDPA Thailand จึงได้รวบรวม 5 ประเด็นคำถามยอดฮิตเกี่ยวกับ พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) จาก โครงการอบรมหลักสูตร ‘การคุ้มครองข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 กับ การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ของหน่วยงานภาครัฐ’ ซึ่งเป็นการจัดตั้งเพื่อให้มีแนวทางในการจัดการคุ้มครองข้อมูลบุคคลของหน่วยงานภาครัฐ
ประเทศไทยได้รับอิทธิพลเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมาอย่างยาวนานมากกว่า 20 ปี อันปรากฏให้เห็นได้จากพระราชบัญญัติข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ซึ่งได้กล่าวถึงข้อมูลส่วนบุคคล โดยมีรากฐานมาจาก Privacy Framework ของ EU Directive 1995 (2538) อันเป็นต้นแบบ
ในคราวประชุม เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2565 ได้มีผลสรุปการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 2 ชุด ได้แก่คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการเงิน และเศรษฐกิจ และ คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ เรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล และอื่นๆ