เอกสารที่ HR ทุกองค์กรต้องมี ดาวน์โหลดฟรี PDPA Guideline กับการคุ้มครองแรงงานสำหรับสถานประกอบการ
เอกสารแนวปฏิบัติ PDPA Guideline โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และ PDPA Thailand ผู้ประกอบการดาวน์โหลดฟรีได้ที่นี่
เอกสารแนวปฏิบัติ PDPA Guideline โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และ PDPA Thailand ผู้ประกอบการดาวน์โหลดฟรีได้ที่นี่
ข้อมูลส่วนบุคคล เป็นข้อมูลที่เลี่ยงได้ยากมากในยุคปัจจุบันนี้ ที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า การแข่งขันก็ค่อนข้างสูง เรียกได้ว่าองค์กรไหนที่มี “ข้อมูล” มากกว่า ก็จะมีความได้เปรียบในเรื่องของการพัฒนาสินค้าหรือบริการ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้ดีกว่า ซึ่งในหลาย ๆ องค์กรก็ได้เล็งเห็นถึงผลประโยชน์และหันมาให้ความสำคัญกับการเก็บข้อมูลผู้ใช้งาน
ผู้ตอบแบบสอบถามเผย “ไม่อยากให้มีการขยายระยะเวลาการยกเว้นบังคับใช้ออกไปอีก เพื่อเป็นการสร้างความแน่นอนทางกฎหมายให้กับประชาชน และอยากให้ภาครัฐร่วมมือกับเอกชน คอยกำกับดูแล ช่วยส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้
ปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศทั่วโลกทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน หรือแม้แต่กระทั้งสถาบันการศึกษาก็ได้นำเอาเทคโนโลยีจดจำใบหน้า หรือ Face Recognition เข้ามาใช้งานในด้านต่าง ๆ อาทิ ภาครัฐนำเอาเทคโนโลยีการจดจำใบหน้าไปใช้ประโยชน์ในด้านความมั่นคง หรือ ด้านความปลอดภัยทางสาธารณะ ภาคเอกชนนำไปใช้เพื่อสร้างการความประทับใจให้กับลูกค้า หรือ เพื่อประโยชน์ในด้านของการอำนวยความสะดวก โดยเฉพาะในงานด้านรักษาความปลอดภัย และสถาบันการศึกษานำมาใช้เพื่อยืนยันการเข้าเรียนของนักเรียน เป็นต้น
PDPA ย่อมาจาก Personal Data Protection Act, B.E. 2562 หรือ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 สาเหตุของการประกาศใช้ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เนื่องจากในปัจจุบันมีผู้คนที่ได้รับความเดือดร้อนจากการถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลเป็นจำนวนมาก จึงจำเป็นต้องมีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งกำลังจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มิถุนายม 2564 จึงทำให้มีผู้ที่สนใจเข้าร่วมหลักสูตร Train The Trainer เพื่อเป็นวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้าน PDPA
การปฏิบัติงานของฝ่าย HR ที่ต้องมีการดำเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานในฐานะเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยผมจะเปรียบเทียบให้เห็นว่า การทำงานมีความแตกต่างและความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลมีมากขึ้นอย่างไร ก่อนและหลัง PDPA มีผลบังคับใช้
ฝ่าย HR (Human Resources) ต้องเร่งทำความเข้าใจ เตรียมตัว ฝึกอบรมสัมมนา สร้างแรงกระตุ้นให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่มีหลายกลุ่มในองค์กรให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ ไปจนกระทั่ง ต้องทำตาม PDPA ให้เสร็จ ไม่ว่าองค์กรของท่าน จะมีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO: Data Protection Officer) หรือไม่ก็ตาม ในที่สุด ฝ่าย HR ต้องเป็น “ แม่งาน หรือ เจ้าภาพ “ ในการทำตาม PDPA
ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้น สำหรับ HR 1.) จุดเริ่มต้นเล็ก ๆ ที่ทำให้เข้าใจว่า เหตุใดต้องทำ PDPA และ 2.) PDPA เริ่มบังคับใช้แล้วและองค์กรอาจเสี่ยงมีความผิดได้
สำหรับเอกชนที่เข้าไปร่วมกับหน่วยงานรัฐในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลร่วมหรือผู้ประมวลผลข้อมูลมีหน้าที่ต้องตรวจสอบและสอบทานฐานความชอบด้วยกฎหมายในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของตนเองเสมอ เพราะความเชื่อว่าหน่วยงานของรัฐมีอำนาจตามกฎหมายทำอะไรก็ได้นั้น “ไม่จริงครับ”
ICDL จัดอบรบในหลักสูตร Personal Data Protection Certificate (PDPC) เกี่ยวกับ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 อบรมฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่าย!